แนวคิดเชิงคำนวณ
แนวคิดเชิงคำนวญ (Computational Thinking) ไม่ใช่การคิดเหมือนหุ่นยนต์หรือการเขียนโปรแกรมโดยผู้เชี่ยวชาญ แต่เป็นทักษะที่มุ่งเน้นการคิดเชิงตรรกะ คือ สามารถอธิบายการคิดเชิงคำนวณอย่างเป็นระบบ หรือเป็นการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นลำดับขั้นตอน โดยการเข้าใจปัญหาและวิธีการในการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ เพื่อให้ได้มาซึ่งวิิธีการแก้ไขปัญหาที่ทั้งมนุษย์และคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจร่วมกันได้
สัญลักษณ์ในการวาดแผนภาพกระแสข้อมูล
ขั้นตอนการดำเนินงาน (process) เป็นงานที่ดำเนินการตอบสนองข้อมูลที่รับเข้า หรือ
ดำเนินการตอบสนองต่อเงื่อนไขสภาะใดๆ ที่เกิดขึ้น ไม่ว่าขั้นตอนการดำเนินงานนั้นจะกระทำ
โดยบุคคล หน่วยงาน หุ่นยนต์ เครื่องจักร หรือเคร่องคอมพิวเตอร์ก็ตาม
แหล่งจัดเก็บข้อมูล (data store) เป็นแหล่งเก็บและบันทึกข้อมูล เปรียบเสมือนคลัง
ข้อมูล (เทียบเท่ากับไฟล์ข้อมูล และฐานข้อมูล) โดยอธิบายรายละเอียดและคุณสมบัติเฉพาะตัว
ของสิ่งที่ต้องการเก็บและบันทึก สัญลักษณ์ที่ใช้อธิบาย คือ สี่เหลี่ยมเปิดหนึ่งข้าง แบ่งออกเป็น 2
ส่วน ได้แก่ ส่วนที่1 ทางด้านซ้าย ใช้แสดงรหัสของ data store โดยอาจจะเป็นหมายเลขลำดับหรือ
ตัวอักษรได้ เช่น D1 D2 เป็นต้นสำหรับส่วนที่ 2 ทางด้านขวา ใช้แสดงชื่อ data store หรือชื่อไฟล์
ตัวเเทนข้อมูล (external agents) หมายถึง บุคคล หน่วงงานในองค์กร องค์กรอื่นๆ
หรือระบบงานอื่นๆ ที่อยู่ภายนอกขอบเขตของระบบ เเม่เชื่อมกับระบบโดยมีการส่งข้อมูลเข้าสู่ข้อมุล
เพื่อดำเนินการ เเละรับข้อมูลเพื่ออดำเนินการสัญลักษณ์ไว้อภิบายสี่เหลี่ยมจัสตุรัสหรือสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในจะต้องเเสดงชื่อตัวเเทนข้อมูล โดยสามารถทำซ้ำได้ด้วยการใช้เครื่องหมาย \ (back slash)
เส้นมางการไหลของข้อมุล (data flow) เป็นการสื่อสารระหว่างขั้นตอนการทำงานต่างๆ
และสภาพแวดล้อมภายนอกหรือภายในระบบ โดยแสดงถึงข้อมุลที่นำเข้าและส่งออกไปในแต่ละ
ขั้นตอน ใช้ในการแสดงถึงการบันทึกข้อมุล คือ เส้นตรงที่ประกอบด้วยหัวลูกศร เพื่อบอกทิศทาง
การเดินทางหรือการไหลของข้อมูล
ตารางที่ 1.2 สัญลักษณ์ในการวาดเเผนภาพกระเเสข้อมูล
ขั้นตอนการดำเนินงาน เป็นงานที่ดำเนินการตอบสนองขข้อมูลที่รับเข้า หรือดำเนินการตอบสนอง
ต่อเงื่อนไขสภาวะใดๆ ที่เกิดขึ้น ไม่ว่าขั้นตอนการดำเนินการนั้นจะหระทำโดยบุคล หุ่นยนต์ หรือ คอมพิวเตอร์ก็ตาม
เเหล่งจักเก็บข้อมูล ทิศทางของกระแสข้อมูลจากกระบวนการ ไปแหล่งจัดเก็บข้อมูลหมายถึงการปรับปรุงข้อมูล เช่น เพิ่ม ลบ หรือ แก้ไขข้อมูลทิศทางของกระแสข้อมูลจากแหล่งจัดเก็บข้อมูล ไปยังกระบวนการหมายถึง การอ่านข้อมูล หรือ นำข้อมูลไปใช้ชื่อของทิศทางกระแสข้อมูลควรใช้คำนามแสดงทิศทางการไหลข้อมูลระหว่างหน่วยงานนอกระบบ (External Entities เช่น ลูกค้า, พนักงานขาย เป็นต้น) กับกระบวนการทำงาน (Process) และพื้นที่จัดเก็บข้อมูลของระบบ(Data Store)DFDs แตกต่างจาก Flowchart คือDFDs เป็นการแสดงรายละเอียดทางกายภาพ(Physical) และตรรกะ(Logical) ของทิศทางการไหลข้อมูล โดยไม่ขึ้นกับเทคโนโลยีFlowchart เป็นการแสดงรายละเอียดทางกายภาพ(Physical)
ของระบบมากกว่าทางตรรกะ
ตัวเเทน หมายถถถึง บุคคล หน่วงงานในองค์กร องค์กรอื่นๆ ที่อยู่ภายนอกขอบเขตของระบบ เเม่เชื่อมกับระบบโดยมีการส่งข้อมูลเข้าสู่ระบบเพื่อดำเนินการ เเละรับข้อมูลเพื่ออดำเนินการสัญลักษณ์ไว้อภิบาย
สี่เหลี่ยมจัสตุรัสหรือสี่เหลี่ยมผืนผ้า ภายในจะต้องเเสดงชื่อตัวเเทนข้อมูล โดยสามารถทำซ้ำได้ด้วยการใช้เครื่องหมาย
แผนภาพบริบท (context diagram)
เป็นแผนภาพกระแสข้อมูลระดับบนสุดที่แสดงภาพรวมทั้งหมดของระบบที่มีความสัมพันธ์กับสภาพเเวดล้อมภายนอกระบบ ซึ่งประกอบด้วย กระบวนการเพียงกระบวนการเดียวนั่นคือ ระบบที่ศึกษา บุคคล ระบบภายนอก และการเคลื่อนที่ของข้อมูลจากภายนอกสู่ระบบ
ภาพที่ 1.1 แผนภาพบริบท ระบบการขายเกมออนไลน์
2.3 ออกแบบระบบ ออกแบบระบบคือขั้นตอนการกำหนดวิธีการแก้ไขปัญหาต่างๆ จากขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบ โดยขั้นตอนนี้จะกำหนดขั้นตอนการทำงานโดยใช้แผนภาพแสดงลำดับขั้นตอนการทำงาน
2.4 พัฒนาระบบ และทดสอบระบบ
พัฒนาระบบ และทดสอบระบบ คือ ขั้นรตอนการดำเนินงานต่างๆเพื่อพัฒนาระบบ โดยดำเนินงานตามการออกแบบจากขั้นตอนการออกแบบระบบ
2.5 ติดตั้งระบบ
ติดตั้งระบบ คือ ขั้นตอนการนำซอฟต์แวร์และระบบงานใหม่ที่เสร็จสมบูรณ์มาติดตั้งในสภาพเเวดล้อมการทำงานจริง จัดทำเอกสารการติดตั้งระบบงานใหม่และคู่มือการใช้งาน จัดฝึกอบรมผู้ใช้งาน
2.6 บำรุงรักษาระบบ
บำรุงรักษาระบบ คือ ขั้นตอนการดูแลระบบต่างๆ เช่น การแก้ไขจุดบกพร่องที่เกิดขึ้นหลังจากการใช้งานในสภาพเเวดล้อมจริง การเพิ่มความสามารถของระบบงาน การปรับเปลี่ยนการทำงานบางประการให้ทันสมัยมากขึ้น เป็นต้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น